วันพฤหัสบดีที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

โครงงานวิทยาศาสตร์

ชื่อโครงงาน ขมิ้นกับดินสอพอง
จัดทำโดย
1.นายกิตติพงษ์ สีฉายา เลขที่ 2
2.นางสาวนันทรัตน์ รุ่งโรจน์ เลขที่ 16
3.นางสาวศิริพร อาญาเมือง เลขที่ 29
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ ในปัจจุบันสีที่มีขายและใช้ในท้องตลาดที่ใช้สำหรับวาดรูปนั้นทำมาจากสารเคมี ที่อาจทำให้เกิดผลเสียต่อผู้บริโภคได้ ผู้จัดทำจึงคิดที่จะนำสีธรรมชาติที่มีอยู่ในท่องถิ่นมาใช้สำหรับทำสี เช่น ขมิ้น อัญชัน ฯลฯ แต่สีดังกล่าวเมื่อเก็บไว้ไม่นานก็จะเสีย ผู้จัดทำจึงคิดวิธีที่จะถนอมสีดังกล่าวไว้สำหรับใช้และเก็บได้นานๆ โดยได้แบ่งการทดลองออกเป็น 5 การทดลองคือ (1)ทอสอบหาอัตราส่วนระหว่างสารสีกับน้ำ (2)หาผงที่จะใช้น้ำไปชุบทำให้เกิดผงสี (3)ทดสอบหาอัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างน้ำสีกับผง (4)ทดสอบประสิทธิภาพของผงสีว่าเมื่อนำผงสีเก็บไว้เป็นเวลา 1 เดือนแล้วนำสีมาละลายน้ำแล้วละบายบนกระดาษแล้วสีจะยังสดใสเหมือนเดิมหรือไม่ และ (5)นำผงสีที่ได้ละบายบนกระดาษแล้วเป็นเวลา 1 เดือนสีจะยังสดอยู่เหมือนเดิมหรือไม่ ซึ่งสามารถสรุปได้ว่า (1)อัตราส่วนระหว่างน้ำกับสารสีที่เหมาะสมคือน้ำ 10 มิลลิลิตรต่อสารสี 3 กรัม (2)วัสดุที่เหมาะสมที่เหมาะสำหรับใช้ทำผงคือผงดินสอพอง (3)อัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างน้ำสีต่อผงดินสอพองคือน้ำสี 50 มิลลิลิตร ต่อดินสอพอง 10 กรัม ส่วนการทดสอบที่(4)และ(5)นั้นผลที่ได้ก็คือสีที่เปรียบเทียบได้ยังคงสดใสเหมือนเดิม ดังนั้นสีผงนี้จึงสามารถเก็บไว้เป็นเวลานานได้และเมื่อนำไปใช้แล้วสีก็ยังสดใสเหมือนเดิมเมื่อผ่านไปเป็ยระยะเวลานาน

ขอบเขตของการทดลอง

การทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยที่ศึกษานับว่ามีความสำคัญมากเพราะช่วยให้สามารถเข้าใจถึงกรอบแนวคิดการวิจัย ขอบเขตของเรื่องที่ศึกษา ตลอดจนสามารถเขียนอภิปรายผลการวิจัยได้ดียิ่งขึ้น เนื้อหาในบทนี้จึงมุ่งทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยเรื่องนี้ โดยกล่าวถึงหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้

1. เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ที่มาและความสำคัญของโครงการ

ความเป็นมาและความสำคัญของโครงงาน ในปัจจุบันผงสีที่ใช้ผสมเป็นสีน้ำหรือสีอื่นๆ สำหรับเขียนรูปภาพ มักจะทำมาจากสารเคมี ที่อาจทำให้เกิดพิษแก่ผู้ใช้ได้ ผู้จัดทำโครงงานจึงเล็งเห็นว่าน่าจะมีวัสดุอื่นที่สามารถนำมาใช้แทนสารเคมีดังกล่าวได้ โดยใช้สารสีที่ได้มาจากพืชชนิดต่างๆ แทน แต่สารสีที่ได้มาจากพืชจะมีลักษณะเป็นน้ำสี ซึ่งมักจะเก็บไว้ใช้ได้ไม่นานก็เสีย และบางฤดูก็อาจไม่มีพืชที่ให้สีดังกล่าว ผู้จัดทำจึงคิดค้นหาวัสดุอื่นที่จะนำน้ำสีมาชุบกับวัสดุที่เป็นผง เพื่อที่จะทำเป็นในลักษณะผงสี เพื่อจะสามารถเก็บไว้ใช้ได้นานๆได้

ขอบเขตของการศึกษา

ขอบเขตการศึกษา
3.1 ศึกษาบทบาท การมีส่วนร่วม ปัญหาและข้อจำกัดขององค์กรผู้บริโภคในระดับต่างๆ
ในการสนับสนุนการแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิผู้บริโภคในปัจจุบัน
3.2 สนับสนุนการจัดเวทีสาธารณะระดับจังหวัดและภูมิภาคของผู้บริโภค เพื่อให้เกิดการ
แลกเปลี่ยน ระดมความคิดเห็นต่อแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐและมาตรการระดับ
พื้นที่ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
3.3 ศึกษารูปแบบ และกลไกองค์การอิสระผู้บริโภค ในการให้ความเห็นในการกำหนด
นโยบาย กฎหมาย และให้ความเห็นในการกำหนดมาตรการเพื่อการคุ้มครอง
ผู้บริโภค โดยทบทวนประสบการณ์และองค์ความรู้ จากกลไกคุ้มครองผู้บริโภคใน
ต่างประเทศ
3.4 จัดทำข้อเสนอ หลักการ และรายละเอียด(ร่าง)องค์การอิสระผู้บริโภคตามเจตนารมณ์
ของรัฐธรรมนูญ
3.5 จัดทำข้อเสนอแนะในการพัฒนากลไกภาคประชาชนในการเพิ่มประสิทธิภาพการ
คุ้มครองผู้บริโภ

สมมติฐานของการศึกษา

สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
จากการทดลองผลิตน้ำอบไทยแบบโบราณโดยนำพืชชนิดที่มีกลิ่นหอมมาผ่านกรรมวิธีการผลิตตามขั้นตอน จะได้น้ำอบไทย มีกลิ่นหอม สีเหลืองใส จริง

อุปกรณ์และวิธีการทดลอง

-อุปกรณ์
1.เครื่องปั่น
2.มีด
3.เขียง
4.หม้อดิน
5.ทัพพี
-วิธีการทดลอง
นำขมิ้นสดมาปาดเป็นชิ้นบางๆ แล้วนำตากลมให้แห้ง แล้วนำมาบดให้ละเอียด
ตั้งน้ำให้เดือดแล้วนำดินสอพองลงมาต้มในหม้อดินคนให้เข้ากัน แล้วปล่อยทิ้งไว้ให้ดินสอพองเย็นตัวแล้วบดให้ละเอียด นำขมิ้นมาผสมกับดินสอพองให้เข้ากัน